จรรยา สัตนาโค - มือใหม่หัดใช้บล็อกนะคะ...ขอบคุณทุกๆท่านที่มีส่วนร่วมผลักดัน...โดยเฉพาะอย่างยิ่ง...*ท่านอาจารย์วรสรวง ดวงจินดา*...อาจารย์ที่น่ารักของพวกเรา... ขอบคุณมากมายค่ะ...
Gmail
วันพฤหัสบดีที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2554
วันพุธที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2554
คุณรู้จักเทคโนโลยี web 1.0 – web 4.0 แล้วหรือยัง???
Web 1.0 = Read Only, Static Data with simple markup
web 1.0 คือ การใช้งานอินเทอร์เน็ต (Internet) ในอดีต เป็นการใช้ข้อมูลด้านเดียว (One way Communication) ระหว่างเว็บ 1 เว็บจะมีผู้ใช้ 1 คนคือ web master หรือผู้สร้างเว็บเป็นผู้ให้ข้อมูล และ ผู้เข้าชมเว็บเป็นผู้รับข้อมูล
จะรู้จักแค่ E-Mail, Chat Room, Download, Search Engine, Web board
ส่วนมากจะใช้ภาษา HTML (HyperText Markup Language )
ต่อมาเริ่มมีการนำเอา Java Script และภาษา PHP (HyperText preprocessor) มาใช้งาน
แหล่งอ้างอิง (บรรณานุกรม) web 1.0
http://sonyukt.blogspot.com/2009/01/web-10-web-20-web-30-website.html
ในยุค Web 2.0 ผู้เข้าชมสามารถอ่านและเขียนได้ ( Read-Write ) เป็นเทคโนโลยีเว็บไซต์ที่สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้งานได้ เช่น
ตัวอย่างเว็บไซต์ยุค Web 2.0 ที่ติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลกMySpace
รูปภาพแสดงแนวคิดของ Web 1.0 กับ Web 2.0
แหล่งอ้างอิง (บรรณานุกรม) web 2.0
http://www.glosgu.com/forums/view.php?qid= 973
http://bit.ly/hQz8vp
http://sonyukt.blogspot.com/2009/01/web-10-web-20-web-30-website.html
Web 3.0 เป็นการนำแนวคิดของ Web 2.0 มาทำให้ Web นั้นสามารถจัดการข้อมูลจำนวนมากๆ ให้อยู่ในรูปแบบ Metadata ที่หมายถึงข้อมูลที่บอกรายละเอียดของข้อมูล (Data about data) ทำให้เว็บกลายเป็น Semantic Web คือ ตัว Web จะทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้น แล้วให้ Tags ตามความเหมาะสมให้เราแทน โดยข้อมูลแต่ละ Tag จะมีความสัมพันธ์กับอีก Tag หนึ่งโดยปริยาย ทำให้อินเตอร์เน็ตกลายเป็นฐานข้อมูล ความรู้ขนาดใหญ่ ที่ข้อมูลทุกอย่างถูกเชื่อมต่อกันอย่างเป็นระบบมากขึ้น
Web 3.0 จะพัฒนาไปในลักษณะ Segment of One คือ Segment ที่มีบุคคลแค่คนเดียว หรือ ตอบโจทย์ความเป็นส่วนบุคคล เช่น อยากไปเที่ยวภูเขาไฟฟูจิ เมื่อค้นข้อมูลแล้วเว็บไซต์จะ เชื่อมโยงข้อมูลทั้งหมดออกมา ไม่ว่าจะจากสายการบินต่างๆ แพ็กเกจไหนดีที่สุด และนำมาเช็ค กับตารางของผู้ใช้ว่าตารางเวลาตรงกันไหม หรือจะนำไปเช็คกับตารางของเพื่อนที่ญี่ปุ่นใน Social Network เพื่อนัดเวลาที่ตรงกันเพื่อพบปะทานข้าวร่วมกันก็ได้
ในยุคสื่อดิจิตอล โลกอินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือสำคัญในการประยุกต์ใช้ไอทีเพราะอินเทอร์เน็ตช่วยให้ เข้าถึงข้อมูลข่าวสารรอบโลกได้อย่างรวดเร็วช่วยให้ติดต่อกับคนหรือหน่วยงานภายในและนอกประเทศได้ ภายในพริบตา รูปแบบที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึง (view ,create ,copy ,share etc.) ได้ทุกที่ ทุกเวลา ด้วย อุปกรณ์ใดๆที่ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ ก้าวต่อไปของสื่อใหม่จะเป็นการเชื่อมโยงและผสมผสาน Digital content เหล่านั้นเข้าด้วยกันที่เรียกว่า Mash Up อันเป็นพื้นฐานของเว็บ 3.0 ที่ได้รับการพัฒนาให้มี ความฉลาดรู้ หรือ มี AI (Artificial Intelligence) สามารถค้นหา และคาดเดาความต้องการของผู้บริโภค แต่ละคนได้ อุปกรณ์ไอที Gadget ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น Notebook/ Netbook/ Smart Phone / MID (Mobile Internet Device), Digital Photo frame, Ebook หรือแม้แต่อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน (Digital home appliance) จะได้รับการ พัฒนาให้มีความฉลาดในการทำงานมากขึ้น ทั้งขนาด คุณสมบัติ การทำงาน และราคา
การเปรียบเทียบพัฒนาการตั้งแต่ Web 1.0 - Web 3.0
ลักษณะของ Web 4.0
1) More access to data (สามารถเข้าถึง data ได้มากขึ้น)
1.1 Access to more products (เข้าถึงผลิตภัณฑ์ได้หลายตัวมากขึ้น)
อย่างเช่น เสื้อผ้า เครื่องประดับ อุปกรณ์การกีฬา
1.2 Access to more images (เข้าถึงรูปภาพได้มากขึ้น)
1.3 All customer reviews (สามารถดึงคำติชมของลูกค้าทุกคน)
1.4 More product attributes (สามารถเข้าถึงข้อมูลของสินค้ามากขึ้น)
2) Extended cabilities (มีความสามารถมากขึ้น)
2.1 Extended Search functionality (ค้นหาข้อมูลด้วยรายละเอียดมากขึ้น)
2.2 Save for Later remote shopping cart (เลือกสินค้าโดยที่ไม่ใส่ตะกร้าได้)
2.3 Wish list search (สามารถค้นหาสินค้าในรายการที่ผู้อื่นต้องการ)
3) Improved usability
3.1 More documentation and code samples (มีคู่มือการใช้และโปรแกรมตัวอย่างมากขึ้น)
3.2 Localized error messages. New error messages include very specific information about errors in your requests and provide troubleshooting guidelines (error messages มีข้อมูลมากขึ้นที่บอกถึงความผิดพลาดและช่วยบอกถึงวิธีแก้)
3.3 Built-in help functionality ทำให้ผู้พัฒนาสามารถเข้าถึง API ได้ง่าย ช่วยในการเรียนรู้และการนำไปใช้
http://sonyukt.blogspot.com/2009/01/web-10-web-20-web-30-website.html
Web 2.0 = Read/Write, Dynamic Data through Web Services
web 2.0 คือ เครือข่ายทางสังคม (Social network) ที่เน้นการแบ่งปัน (Sharing) รูปภาพ สื่อต่างๆ (Multimedia) รวมทั้งข้อมูลที่สมาชิกภายในกลุ่มเครือข่ายสังคมนั้นมีอยู่อย่างแท้จริง
web 2.0 เป็นการติดต่อ 2 ทาง (Two-way Communication) และผู้ใช้ยังมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ (Co-Creation) และนำเสนอ Content ไม่ใช่ Content Provider (ผู้นำเสนอเนื้อหาข้อมูล ความรู้) อีกต่อไป
web 2.0 เป็นการติดต่อ 2 ทาง (Two-way Communication) และผู้ใช้ยังมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ (Co-Creation) และนำเสนอ Content ไม่ใช่ Content Provider (ผู้นำเสนอเนื้อหาข้อมูล ความรู้) อีกต่อไป
ในยุค Web 2.0 ผู้เข้าชมสามารถอ่านและเขียนได้ ( Read-Write ) เป็นเทคโนโลยีเว็บไซต์ที่สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้งานได้ เช่น
- Wikipedia สารานุกรมออนไลน์ (http://www.wikipedia.org/ , http://th.wikipedia.org/)
- Web blog (http://www.wordpress.com/ , www.blogger.com)
- Media Sharing Youtube.com, Flickr.com Social Network Hi5, Twitter Sourceforge.org, Google Maps, Google Earth
ตัวอย่างเว็บไซต์ยุค Web 2.0 ที่ติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลกMySpace
การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง Web 1.0 และ Web 2.0
รูปภาพแสดงแนวคิดของ Web 1.0 กับ Web 2.0
แหล่งอ้างอิง (บรรณานุกรม) web 2.0
http://www.glosgu.com/forums/view.php?qid= 973
http://bit.ly/hQz8vp
http://sonyukt.blogspot.com/2009/01/web-10-web-20-web-30-website.html
Web 3.0 = Read/Write/Relate, Data with structured Metadata + managed identity
Web 3.0 เป็นการนำแนวคิดของ Web 2.0 มาทำให้ Web นั้นสามารถจัดการข้อมูลจำนวนมากๆ ให้อยู่ในรูปแบบ Metadata ที่หมายถึงข้อมูลที่บอกรายละเอียดของข้อมูล (Data about data) ทำให้เว็บกลายเป็น Semantic Web คือ ตัว Web จะทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้น แล้วให้ Tags ตามความเหมาะสมให้เราแทน โดยข้อมูลแต่ละ Tag จะมีความสัมพันธ์กับอีก Tag หนึ่งโดยปริยาย ทำให้อินเตอร์เน็ตกลายเป็นฐานข้อมูล ความรู้ขนาดใหญ่ ที่ข้อมูลทุกอย่างถูกเชื่อมต่อกันอย่างเป็นระบบมากขึ้น
Web 3.0 จะพัฒนาไปในลักษณะ Segment of One คือ Segment ที่มีบุคคลแค่คนเดียว หรือ ตอบโจทย์ความเป็นส่วนบุคคล เช่น อยากไปเที่ยวภูเขาไฟฟูจิ เมื่อค้นข้อมูลแล้วเว็บไซต์จะ เชื่อมโยงข้อมูลทั้งหมดออกมา ไม่ว่าจะจากสายการบินต่างๆ แพ็กเกจไหนดีที่สุด และนำมาเช็ค กับตารางของผู้ใช้ว่าตารางเวลาตรงกันไหม หรือจะนำไปเช็คกับตารางของเพื่อนที่ญี่ปุ่นใน Social Network เพื่อนัดเวลาที่ตรงกันเพื่อพบปะทานข้าวร่วมกันก็ได้
ในยุคสื่อดิจิตอล โลกอินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือสำคัญในการประยุกต์ใช้ไอทีเพราะอินเทอร์เน็ตช่วยให้ เข้าถึงข้อมูลข่าวสารรอบโลกได้อย่างรวดเร็วช่วยให้ติดต่อกับคนหรือหน่วยงานภายในและนอกประเทศได้ ภายในพริบตา รูปแบบที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึง (view ,create ,copy ,share etc.) ได้ทุกที่ ทุกเวลา ด้วย อุปกรณ์ใดๆที่ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ ก้าวต่อไปของสื่อใหม่จะเป็นการเชื่อมโยงและผสมผสาน Digital content เหล่านั้นเข้าด้วยกันที่เรียกว่า Mash Up อันเป็นพื้นฐานของเว็บ 3.0 ที่ได้รับการพัฒนาให้มี ความฉลาดรู้ หรือ มี AI (Artificial Intelligence) สามารถค้นหา และคาดเดาความต้องการของผู้บริโภค แต่ละคนได้ อุปกรณ์ไอที Gadget ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น Notebook/ Netbook/ Smart Phone / MID (Mobile Internet Device), Digital Photo frame, Ebook หรือแม้แต่อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน (Digital home appliance) จะได้รับการ พัฒนาให้มีความฉลาดในการทำงานมากขึ้น ทั้งขนาด คุณสมบัติ การทำงาน และราคา
การเปรียบเทียบเว็บไซต์ตั้งแต่ Web 1.0 - Web 3.0
การเปรียบเทียบพัฒนาการตั้งแต่ Web 1.0 - Web 3.0
การเปรียบเทียบแนวคิดของ Web 1.0 - Web 3.0
แหล่งอ้างอิง (บรรณานุกรม) web 3.0
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี http://goo.gl/RBPDo
http://goo.gl/6LA3G
http://www.ecommerce-magazine.com/index.php?option=com_content&task=view&id= 876 &Itemid= 58
http://www.zdnet.com/blog/saas/what-to-expect-from-web-30/68
http://www.betanews.com/article/Microsoft-to-Invest-in-Web-30/1184682224
http://tatrionline.blogspot.com/2007/11/web-30-web-40-100.html
http://sonyukt.blogspot.com/2009/01/web-10-web-20-web-30-website.html
http://lms3.thaicyberu.go.th/moodle/mod/forum/discuss.php?d=30511
http://www.techcrunch.com
http://www.computers.co.th
http://catadmin.cattelecom.com
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี http://goo.gl/RBPDo
http://goo.gl/6LA3G
http://www.ecommerce-magazine.com/index.php?option=com_content&task=view&id= 876 &Itemid= 58
http://www.zdnet.com/blog/saas/what-to-expect-from-web-30/68
http://www.betanews.com/article/Microsoft-to-Invest-in-Web-30/1184682224
http://tatrionline.blogspot.com/2007/11/web-30-web-40-100.html
http://sonyukt.blogspot.com/2009/01/web-10-web-20-web-30-website.html
http://lms3.thaicyberu.go.th/moodle/mod/forum/discuss.php?d=30511
http://www.techcrunch.com
http://www.computers.co.th
http://catadmin.cattelecom.com
web 4.0 หรือที่เรียกกันว่า “A Symbiotic web” (Ubiquitous Web) คือ web ที่มีทำงานแบบ Artificial Intelligence (AI) หมายถึง การสร้างให้คอมพิวเตอร์ให้สามารถคิดได้ (Human mind & Machines หรือ Human & Robot coexistence) มีความฉลาดมากขึ้น ในการอ่านทั้งเนื้อหา (text) และรูปภาพ (graphic) และสามารถตอบสนองด้วยการคำนวณ หรือ สามารถตัดสินใจได้ว่าจะ load ข้อมูลใดที่จะให้ประสิทธิภาพดีที่สุดมาให้ก่อน และมีรูปแบบการนำมาแสดงที่รวดเร็ว
Web 4.0 นั้นประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ Ubiquity, Identity และ Connection กล่าวคือ จะพบได้ทุกหนทุกแห่ง ไม่จำกัดว่าจะเป็น Device ใด สามารถระบุตัวตนของผู้ใช้งานได้อย่างแน่ชัด รวมถึงอาจจะ Integrate ไปกับอุปกรณ์อื่นๆ ที่ช่วยในการระบุตัวตน เช่น GPS และก็สามารถใช้งาน ได้ทุกหนทุกแห่ง สามารถเชื่อมต่อได้ง่ายจนไม่รู้สึกถึงความยุ่งยากใด ในระหว่างการทำงานหนึ่งๆ อาจจะมีข้อความแทรกขึ้นมาทันทีก็ได้ ลักษณะของ Web 4.0 จะไม่ได้มองไปที่ “ข้อมูล” อีกต่อไป เพราะจะก้าวข้ามกลายเป็น Activity หรือกิจกรรมแทน เพราะได้ผ่านจุดของ Web 3.0 ที่สามารถ สื่อสารกันไปแล้ว ข้อมูลทุกอย่างจึงแลกเปลี่ยนได้อย่างอิสระจนมองข้ามมันไปได้ว่าข้อมูลอยู่ที่ไหนหรือมาจากไหน แต่กลับไปสนใจแทนว่า หากจะทำกิจกรรมหนึ่งๆ มีที่ไหนที่มี Application ที่จะสนับสนุนกิจกรรม ที่ผู้ใช้งานต้องการได้ เช่น หากต้องการจะซื้อเสื้อ ข้อมูลเสื้อจากทุกๆ แหล่งที่รองรับกิจกรรมนี้ก็ จะถูกส่งมารวมกัน โดยอาจมีข้อมูลประกอบว่าร้านอยู่ที่ไหนจาก Application ด้านข้อมูลสถานที่ และสามารถเลือกผู้ส่งสินค้าได้ จาก Application จากผู้ให้บริการด้านการส่ง เป็นต้น
Web 4.0 นั้นประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ Ubiquity, Identity และ Connection กล่าวคือ จะพบได้ทุกหนทุกแห่ง ไม่จำกัดว่าจะเป็น Device ใด สามารถระบุตัวตนของผู้ใช้งานได้อย่างแน่ชัด รวมถึงอาจจะ Integrate ไปกับอุปกรณ์อื่นๆ ที่ช่วยในการระบุตัวตน เช่น GPS และก็สามารถใช้งาน ได้ทุกหนทุกแห่ง สามารถเชื่อมต่อได้ง่ายจนไม่รู้สึกถึงความยุ่งยากใด ในระหว่างการทำงานหนึ่งๆ อาจจะมีข้อความแทรกขึ้นมาทันทีก็ได้ ลักษณะของ Web 4.0 จะไม่ได้มองไปที่ “ข้อมูล” อีกต่อไป เพราะจะก้าวข้ามกลายเป็น Activity หรือกิจกรรมแทน เพราะได้ผ่านจุดของ Web 3.0 ที่สามารถ สื่อสารกันไปแล้ว ข้อมูลทุกอย่างจึงแลกเปลี่ยนได้อย่างอิสระจนมองข้ามมันไปได้ว่าข้อมูลอยู่ที่ไหนหรือมาจากไหน แต่กลับไปสนใจแทนว่า หากจะทำกิจกรรมหนึ่งๆ มีที่ไหนที่มี Application ที่จะสนับสนุนกิจกรรม ที่ผู้ใช้งานต้องการได้ เช่น หากต้องการจะซื้อเสื้อ ข้อมูลเสื้อจากทุกๆ แหล่งที่รองรับกิจกรรมนี้ก็ จะถูกส่งมารวมกัน โดยอาจมีข้อมูลประกอบว่าร้านอยู่ที่ไหนจาก Application ด้านข้อมูลสถานที่ และสามารถเลือกผู้ส่งสินค้าได้ จาก Application จากผู้ให้บริการด้านการส่ง เป็นต้น
ลักษณะของ Web 4.0
1) More access to data (สามารถเข้าถึง data ได้มากขึ้น)
1.1 Access to more products (เข้าถึงผลิตภัณฑ์ได้หลายตัวมากขึ้น)
อย่างเช่น เสื้อผ้า เครื่องประดับ อุปกรณ์การกีฬา
1.2 Access to more images (เข้าถึงรูปภาพได้มากขึ้น)
1.3 All customer reviews (สามารถดึงคำติชมของลูกค้าทุกคน)
1.4 More product attributes (สามารถเข้าถึงข้อมูลของสินค้ามากขึ้น)
2) Extended cabilities (มีความสามารถมากขึ้น)
2.1 Extended Search functionality (ค้นหาข้อมูลด้วยรายละเอียดมากขึ้น)
2.2 Save for Later remote shopping cart (เลือกสินค้าโดยที่ไม่ใส่ตะกร้าได้)
2.3 Wish list search (สามารถค้นหาสินค้าในรายการที่ผู้อื่นต้องการ)
3) Improved usability
3.1 More documentation and code samples (มีคู่มือการใช้และโปรแกรมตัวอย่างมากขึ้น)
3.2 Localized error messages. New error messages include very specific information about errors in your requests and provide troubleshooting guidelines (error messages มีข้อมูลมากขึ้นที่บอกถึงความผิดพลาดและช่วยบอกถึงวิธีแก้)
3.3 Built-in help functionality ทำให้ผู้พัฒนาสามารถเข้าถึง API ได้ง่าย ช่วยในการเรียนรู้และการนำไปใช้
รูปภาพแสดงเส้นทางพัฒนาการของ Web 1.0 - Web 4.0
รูปภาพแสดงแนวคิดของ Web 1.0 - Web 4.0
แหล่งอ้างอิง (บรรณานุกรม) web 4.0
http://website-quality.blogspot.com/2010/01/web-40-new-
http://sethgodin.typepad.com/seths_blog/2007/01/web4.html
http://samarn.multiply.com/journal/item/84/84
http://sethgodin.typepad.com/seths_blog/2007/01/web4.html
http://www.zdnet.com/blog/btl/from-semantic-web-30-to-the-webos-40/4499
http://website-quality.blogspot.com/2010/01/web-40-new-
http://sethgodin.typepad.com/seths_blog/2007/01/web4.html
http://samarn.multiply.com/journal/item/84/84
http://sethgodin.typepad.com/seths_blog/2007/01/web4.html
http://www.zdnet.com/blog/btl/from-semantic-web-30-to-the-webos-40/4499
แหล่งอ้างอิง (บรรณานุกรม)
http://goo.gl/aRA2P
http://goo.gl/0VMUS
http://goo.gl/Q216Q
http://www.blogger.com/goog_649426735
http://jonmell.co.uk/web-20-web-30-web-40-web-50-where-will/
http://www.techcrunch.com
http://www.computers.co.th
http://catadmin.cattelecom.com
http://goo.gl/aRA2P
http://goo.gl/0VMUS
http://goo.gl/Q216Q
http://www.blogger.com/goog_649426735
http://jonmell.co.uk/web-20-web-30-web-40-web-50-where-will/
http://www.techcrunch.com
http://www.computers.co.th
http://catadmin.cattelecom.com
แหล่งเรียนรู้ออนไลน์(Youtube)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)